Tag Archives: ประวัติ

กรรมวาจาจารย์

กรรมวาจาจารย์ (อ่านว่า กำ-มะ-วา-จา-จาน) แปลว่า อาจารย์ผู้สวดกรรมวาจา คือภิกษุผู้ทำหน้าที่สวดประกาศในท่ามกลางสงฆ์เวลาทำพิธีอุปสมบท เพื่อให้สงฆ์ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับตัวอุปสัมปทาเปกข์หรือผู้ขอบวช และถามมติของสงฆ์ว่าจะยอมรับผู้ขอบวชให้เป็นภิกษุหรือไม่ เรียกกันว่า พระกรรมวาจาจารย์กรรมวาจาจารย์เป็นคู่กับพระอนุสาวนาจารย์ ซึ่งทำหน้าที่บอกอนุศาสน์หรือคำสอนเกี่ยวกับระเบียบวินัยเบื้องต้นแก่ผู้บวชที่เป็นภิกษุใหม่ ในปัจจุบันทั้งสองรูปทำหน้าที่เหมือนกันคือสวดประกาศ ฉะนั้นจึงเรียกว่า “คู่สวด” หรือ “พระคู่สวด” ส่วนหน้าที่บอกอนุศาสน์กำหนดให้เป็นหน้าที่ของพระอุปัชฌาย์ jumbo jili พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (บาลี: พุทฺธสาสนา, สันสกฤต: बुद्धशासना พุทฺธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า … Continue reading

Posted in religion | Tagged , | Comments Off on กรรมวาจาจารย์

พระโกนาคมนพุทธเจ้า

พระโกนาคมนพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 23 ในพุทธวงศ์ และเป็นพระองค์ที่ 2 ในภัททกัปนี้ ที่พระองค์มีพระนามเช่นนี้เนื่องจากขณะที่พระองค์ประสูติฝนทองได้ตกลงมาทั่วทั้งชมพูทวีป พระองค์ทรงแสดงธรรมโปรดภิยโยสราชกุมารและอุดรราชกุมาร พร้อมด้วยบริวาร พระกายสูง 30 ศอก มีพระชนมายุ 30,000 พรรษาจึงเสด็จปรินิพพาน jumbo jili พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (บาลี: พุทฺธสาสนา, สันสกฤต: बुद्धशासना พุทฺธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย … Continue reading

Posted in religion | Tagged , | Comments Off on พระโกนาคมนพุทธเจ้า

กถาวัตถุ 10

กถาวัตถุ 10 หมายถึง เรื่องที่ควรพูด เรื่องที่ควรนำมาสนทนากันในหมู่ภิกษุ ได้แก่อัปปิจฉกถา เรื่องความมักน้อย ถ้อยคำที่ชักชวนให้มีความปรารถนาน้อยสันตุฏฐิกถา เรื่องความสันโดษ ถ้อยคำที่ชักนำให้มีความสันโดษ ไม่ชอบฟุ้งเฟ้อหรือปรนปรือปวิเวกกถา เรื่องความสงัด ถ้อยคำที่ชักนำให้มีความสงัดกายใจอสังสัคคกถา เรื่องความไม่คลุกคลี ถ้อยคำที่ชักนำให้ไม่คลุกคลีด้วยหมู่วิริยารัมภกถา เรื่องการปรารภความเพียร ถ้อยคำที่ชักนำให้มุ่งมั่นทำความเพียรสีลกถา เรื่องศีล ถ้อยคำที่ชักนำให้ตั้งอยู่ในศีลสมาธิกถา เรื่องสมาธิ ถ้อยคำที่ชักนำให้ทำจิตมั่นปัญญากถา เรื่องปัญญา ถ้อยคำที่ชักนำให้เกิดปัญญาวิมุตติกถา เรื่องวิมุตติ ถ้อยคำที่ชักนำให้ทำใจให้พ้นจากกิเลสและความทุกข์วิมุตติญาณทัสสนกถา เรื่องความรู้ความเห็นในวิมุตติ ถ้อยคำที่ชักนำให้สนใจ และเข้าใจเรื่องความรู้ ความเห็นในภาวะที่หลุดพ้น จากกิเลสและความทุกข์ jumbo jili พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (บาลี: พุทฺธสาสนา, สันสกฤต: बुद्धशासना พุทฺธศาสนา) … Continue reading

Posted in religion | Tagged , | Comments Off on กถาวัตถุ 10

กถาวัตถุ

กถาวัตถุ เป็นคัมภีร์หนึ่งในพระอภิธรรมปิฎก เป็นคัมภีร์ที่ 5 ของอภิธรรม 7 คัมภีร์ เป็นคำแถลงวินิจฉัยทัศนะต่างๆ ที่ขัดแย้งกันระหว่างนิกายทั้งหลาย สมัยสังคายนาครั้งที่สาม กถาวัตถุได้รับขนานนามจากเหล่านักปรัชญาว่าเป็นไข่มุขแห่งปรัชญาตะวันออก เพราะในกถาวัตถุแบ่งเป็น 2 ส่วน คือกถาวัตถุบริสุทธิ์ (ของพระพุทธเจ้า) และที่เติมมาในภายหลังเมื่อครั้งสังคยนาครั้งที่สามพระกถาวัตถุคาถาปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ อามันตา, โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, นะ เหวัง วัตตัพเพ, อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนะ เตนะ วะตะ เร … Continue reading

Posted in religion | Tagged , | Comments Off on กถาวัตถุ